About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

ความเหลื่อมล้ำของคุณภาพการศึกษาระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่-ขนาดเล็ก:

ภาพรวมข้างต้นเป็นเหตุให้เราต้องย้อนกลับมาตั้งคำถามว่า การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาของไทยที่ผ่านมาเป็นอย่างไร และอะไรคือหล่มกับดักที่ทำให้เรายังคงไปไม่ถึงความเสมอภาคที่ควรจะเป็น

“แต่ละภาคส่วนจุดเด่นแตกต่างกัน ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุดเด่นอยู่ที่ความคล่องตัวเมื่อทำงานกับภาคประชาสังคม มีอำนาจสั่งการมีการกำหนดโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ประสานงานกับภาครัฐและเอกชนได้ง่าย ส่วนภาครัฐมีอำนาจสั่งการ สามารถวางรากฐานที่เชิงนโยบายและโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีทรัพยากรเป็นของตนเอง แต่มีความไม่คล่องตัวเนื่องจากระเบียบวิธีทางงบประมาณของภาครัฐ ขณะที่ภาคประชาสังคมจะขาดอำนาจในการสั่งการโดยตรง ขณะเดียวกันภาคประชาสังคมก็ทำงานแนวราบได้ดี แต่ขาดการเชื่อมโยงกับภาครัฐในการช่วยเหลือน้องๆ สุดท้ายภาควิชาการทำให้เกิดความร่วมมือที่หลากหลาย”

Other uncategorized cookies are the ones that are now being analyzed and possess not been classified into a category as nevertheless. Help you save & Settle for

สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ

ในด้านเนื้อหานำเสนอให้เห็นถึงภาพรวมของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แนวทางและมาตรการการดำเนินการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา จนไปถึงการออกแบบนวัตกรรม เทคโนโลยีและความก้าวหน้าในการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเปราะบางต่างๆ ในสังคม ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาศักยภาพครูและสถานศึกษาในการรองรับวิกฤติที่เกิดขึ้น

สังคมไทยยังคงเป็นสังคมที่ให้ความสำคัญ และให้คุณค่ากับการเรียนการสอนในเชิงทักษะทางด้านวิชาการมากกว่าทักษะทางด้านสังคม รวมถึงระยะเวลาที่ยาวนานในการเล่าเรียน จึงทำให้เยาวชนขาดทักษะทางด้านสังคม ขาดการเรียนรู้เพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ทำให้แม้ว่าจะมีความรู้ และทักษะที่ดีในเชิงวิชาการ แต่กลับไม่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

รายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำของ กสศ.

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยในระดับนานาชาติ:

หลายคน ที่รอโอกาสการศึกษาต่อที่เหมาะสมการทำงาน และไม่รบกวนภาระงานหลักที่ต้องรับผิดชอบ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และที่สำคัญแก้ปัญหาการพัฒนาการเรียนการสอนของครูตชด. ได้ตรงจุด สิ่งที่ได้ไปเรียนรู้มาจากที่ มรภ.รำไพพรรณี สามารถนำมาต่อยอดกับเพื่อนครูที่โรงเรียน พัฒนานักเรียน พัฒนาหลักสูตร มีแผนการสอนที่ดี สามารถกำหนดตัวชี้วัดและประเมินผลได้ตามหลักวิชาการ”  .

ถึงตอนนี้ บางคนอาจตั้งคำถามว่าโรงเรียนเรียนขนาดเล็ก เด็กก็น้อย ทำไมครูต้องเพิ่มจำนวนให้เท่ากับเด็ก? ดร.อารีย์ ให้คำตอบว่าแม้จำนวนเด็กจะน้อย แต่พวกเขาก็เรียนคนละชั้น อายุไม่เท่ากัน นอกจากนี้ครูหลายคนยังมีภาระอื่นๆ นอกจากการสอน ทั้งทำกับข้าว ขับรถรับส่งก็มี บางแห่งยังทำหน้าที่เป็นภารโรง ครูหนึ่งคนจึงต้องรับภาระค่อนข้างเยอะและยังมีค่าสาธารณูปโภคที่ไม่แตกต่างกับโรงเรียนขนาดใหญ่อื่นๆ อีกด้วย

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา คือ การที่บุคคลมีความสามารถในการเข้าถึงการศึกษาแตกต่างกัน เนื่องมาจากโครงสร้างทางสังคมอันส่งผลให้เกิดปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน โดยผู้ได้รับการสนับสนุนให้เข้าถึงการศึกษาที่ดีกว่า ย่อมมีโอกาสในการเลือกระดับคุณภาพของการศึกษาที่มากกว่าผู้ที่มีปัจจัยและทรัพยากรที่น้อย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *